ยินดีต้อนรับคะ นางสาวอุบล สุขสร้อย[ละออ] รหัส 5411203010 เลขที่ 19 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14
วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556
เวลา 8.30 - 12. 20 น.

เนื้อหาที่เรียนวันนี้ 
---วันนี้เป็นกลุ่มของฉันออกไปสาธิตการสอน เรื่อง ดิน

วันจันทร์ -----ชนิดของดิน
-เราควรพูดคำถามเปิดประเด็น ว่าเด็กเคยดินอะไรบ้างคะ เพื่อทดสอบประสบการณ์เดิม
การทดสอบประสบการ์เดิม เป็นการแบ่งความรู้ มีส่วนร่วม คิดถึงเหตุการณ์
-เขียนลงบนกระดานตามที่เด็กบอก(เขียนให้อยู่ในรูปแบบเลขฐานสิบ)

 -พอเขียนเสร้จก็ใส่ตัวเลขกำกับ แล้วถามว่าดินมีทั้งหมดกี่ชนิด
-หลังจากนั้นก็นำดินที่เราเตรียมมาใส่ตะกร้าหรือกล่อง เพื่อให้เด็กคาดคะเน แล้วถามว่า เด็กๆคิดว่ามีอะไรอยู่ในตะกร้าคะ
-นำดินที่เตรียมไว้ออกมาแล้วถามเด็กว่ามีดินอะไรบ้าง มีกี่ชนิด แล้วให้เด็กได้สัมผัสดู
-แล้งก้แยกประเภท นำมาเปรียบเทียบ 1 : 1

วันอังคาร ---ลักษณะของดิน  (ของฉัน)
-ทบทวนเรื่องที่เรียนเมื่อวาน
-แล้วนำดินที่เตรียมมาให้เด็กสัมผัส แล้วให้เด็กสังเกตว่ามีอะไรแตกต่างกัน สีเป็นยังไง ขนาดเป็นไง 
รูปร่างเป็นไง เป็นต้น
-พอเด็กตอบนำมาเขียนเป็นตารางสรุป

-นำเสนอเป็นแผนภูมิวงกลม
วันพุธ----สิ่งที่อยู่ในดิน
 -ทบทวนเรื่องของเมื่อวาน
-พาไปสังเกตข้างนอกหรือครูเตรียมดินใส่ถุงแล้วนำ เปลือกไม้ หอย ก้อนหิน ไส้เดือน เป็นต้น
ให้เด็กแยกสิ่งที่มีชีวิกับไม่มีชีวิต

วันพฤหัสบดี -----ประโยชน์ของดิน
-เล่านิทาน ต้องเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์หรือใช้เพลงก็ได้

วันศุกร์-----ข้อควรระวัง
-อธิบายว่าดินมีเชื้อโรค 
-อาจใช้หุ่นมือมาเล่านิทานก็ได้

****ในวันสุดท้ายควรจะให้เด็กได้ลงไปสัมผัสจริงๆ ให้เด็กทำกิจกรรมเตรียมดินปลุกต้นไม้ และวักระยะในการปลุกก็ได้  



วันจันทร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 13
วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม 2556
เวลา 8.30 - 12. 20 น.

เนื้อหาที่เรียนในวันนี้
 -  สาระสำคัญในหน่วยการเรียนรู้ที่ตัวเองสร้างขึ้น  ให้แยกออกเป็น  5  วัน  (จันทร์ -  ศุกร์)
   -   จากที่แยกสาระสำคัญออกเป็น  5 วัน แล้ว ให้บูรณาการคณิตศาสตร์เข้าไปในการเรียนการสอนด้วย
   -   พัฒนาการทางสติปัญญา
        เด็กเล็ก :  ใช้ของจริงแทนภาพ (เพื่อการเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น)
        เด็กโตขึ้นมาหน่อย  :  ใช้ภาพและคุณครูเขียนขึ้นกระดาน 
        เด็กโต  :   ใช้ตัวเลขกำกับจำนวน 

-อธิบายหัวข้อคุณหมอ 
----อันดับแรกถามเด็กว่ารู้จักหมออะไรบ้างคะ
----รู้จักหมออยุ่ 2 ประเภทคือใกล้ตัวเด็กกับเด็กรู้จัก
----เด็กอยากทราบไหมคะว่าหมอมีข้อแตกต่างกันอย่างไร (หาจุดเด่นของลักษณะของหมอ)

----เด็กๆนับหมอฟันสิมีกี่คน คุณหมอทั้งหมดมีจำนวนเท่าไหร่(ได้เรื่องจำนวนเต็ม เศษส่วน)

-  หลักในการเลือกหน่วยการเรียนรู้ให้กับเด็ก  สิ่งที่ควรคำนึง
    1.   ใกล้ตัวเด็ก
    2.   มีผลกระทบกับเด็ก
    3.   ในชีวิตประจำวันของเด็ก

---เด็กเกิดประสบการณ์--ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 --ได้ลงมือกระทำ--เป็นวิธีการเรียนรู้
---สิ่งที่เหมาะสมในการบอกประโยชน์คือ หยิบออกมาให้เห็น อธิบายโดยใช้นิทาน
---ช่วงความสนใจของเด็ก  =   20 - 25  นาทีเพียงเท่านั้น!!!
---จังหวะที่เหมาะกับนิทาน  คือ  การพูดถึงประโยชน์ในสิ่งที่จะสื่อให้เด็กได้รู้
---การชั่งน้ำหนักด้วยกิโล  =  ต้องแสดงออกเป็นตัวเลขที่แน่ชัด และเท็จจริง


ตัวอย่าง การวัด(วัดระยะทางจากบ้านไปโรงเรียน)  


สิ่งที่ค้นคว้าเพิ่มเติม
ทิศและแผนผัง 
สรุปเรื่องจำนวน 1 
ฝึกเขียนตัวเลข 0-9            

วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 12
วันพฤหัสบดีที่ 17   มกราคม 2556
เวลา 8.30 - 12. 20 น.

มาตรฐานการเรียนรู้ของ สสวท. มี
1.  จำนวนและการดำเนินการ
2.  การวัด                                                            
3.  เรขาคณิต
4.  พีชคณิต
5.  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6.  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
* รู้จำนวน-รู้ค่า-แทนค่า -หยิบสิ่งของมาวางหรือใช้การเขียน -การดำเนินการ
*การวัด-เครื่องมือ-ได้ค่าและปริมาณ
*คำว่า"ระหว่าง" คือต้องมีการผ่าน
*คำว่า"ตรงกลาง" คือ สองข้างเท่ากัน
*เรขาคณิต - รูปทรง ทิศทาง ตำแหน่ง ระยะทาง
*พีชคณิต - เข้าใจแบบรูป

****วิธีการเลืกหน่วยที่จะนำมาสอนเด็กปฐมวัย ****
-เรื่องใกล้ตัว
-มีประโยชน์กับเด็ก
-เด็กรู้จัก
-เสริมสร้างพัฒนาการ
-เป็นเรื่องง่ายๆเด็กทำได้
-เหมาะสมกับวัยของเ็็ด็ก
-มีความสำคัญกับเด็ก
-มีผลกระทบกับเด็ก

ตัวอย่าง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยมีตะเกียบเป็นสื่อการเรียนรู้
เรื่องเลขฐาน 10
                ทำให้เด็กเกิดการ คิดรวบยอด (concept) ว่า "ตัวเลขหลักหน่วยจะเพิ่มขึนเรื่อยๆ เมื่อจำนวนนั้นครบ  10  ถ้าครบ 10  แล้วก็ปัดจำนวนไปหลักข้างหน้าเสมอ"

วันเสาร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 11
วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม 2556
เวลา 8.30 - 12. 20 น.


กิจกรรมการเรียนการสอน
 - การทำ Mind Mapping  = การแตกความคิดจากเนื้อหา (สาระสำคัญ : การคิดวิเคราะห์)
 -พัฒนาการของเด็ก แรกเดิก - 6 ปี
 แรกเกิด - 2 ปี -> ใช้ประสาทสัมผัส
 2 ปี  -   4 ปี  -> เริ่มพูดได้
 4 ปี  -   6 ปี  -> มีเหตุผล (ความคิดเชื่อมโยง ) ,มีประโยค
- แตกสาระจาก Mind Mapping ออกมาจากการคิดวิเคราะห์

-การลงมือกระทำกับวัตถุึเป็นวิธีการเรียนรู้
-ประสบการณ์สำคัญ(ทักษะ)เป็นตัวที่เด็กลงมือกระทำ
-การอนุรักษ์ คือการที่ปริมาณคงที่แม้รูปร่างเปลี่ยนไป
-   มาตรฐานการเรียนรู้  ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
    สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ
    สาระที่ 2  การวัด
    สาระที่ 3  เรขาคณิต
    สาระที่ 4  พีชคณิต
    สาระที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
    สาระที่ 6  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

หมายเหตุ
    อาจารย์สั่งงาน ให้นำ Mind Mapping ที่แตกความคิดสัปดาห์ก่อน ให้นำมาแยกสาระการเรียนรู้ออกเป็น 5 วัน  (จันทร์ - ศุกร์)

วันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 10
วันพฤหัสบดีที่ 3  มกราคม 2556
เวลา 8.30 - 12. 20 น.

เนื้อหาที่เรียนวันนี้
 

- อาจารย์ให้เอากระดาษลังที่ตัดขนาด 4*4 6*6 8*8 มาลองคิดว่าจะจัดประสบการณทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร
 -ให้นำกระดาษลังขนาด 4*4 มาวัดขนากทีวีว่าจะใช้กี่แผ่น 

แผ่นกระดาษลังที่นักศึกษาตัดมาเป็นตารางนิ้วใช้เป็นสื่อการสอนคณิตศาสตร์ได้อย่างไร?
               ตอบ     1. การหาค่า
                            2.  ใช้การวัด
                            3.  การนับ
                            4.  จำนวน 
                            5.  ใช้ตัวเลขกำกับจำนวน
                                  =  โดยการหยิบตัวเลขมาวาง หรือ การเขียน
                            6.   เปรียบเทียบ
                                  =  มากกว่า  น้อยกว่า  
                            7.   จับคู่  1:1
ภาพ การจับคู่ 1:1
 
 หมายเหตุ         จับคู่ผลิตสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์จากกระดาษลังที่ตัดมา  3  ขนาด
                          ได้แก่  4x4  ,    6x6  ,   และ  8x8     ส่งวันที่  10  มกราคม  2556